โหลด สรุปเคมีสารละลาย PDF
สารละลาย .pdf คลิก
สารละลายเป็นของผสมเนื้อเดียวซึ่งชื่อก็บอกอยู่แล้วว่าเป็นของผสมก็ต้องเกิดจากสาร
2 สารขึ้นไปก็คือตัวทำละลายแล้วก็ส่วนตัวถูกละลายรวมกัน Solution
สารละลายเกิดจากตัวทำละลายบวกกับ salute ตัวถูกละลายณที่นี้เราจะพิจารณาได้ไงว่าในสารละลายของเราอันไหนเป็นตัวทำอันไหนเป็นตัวถูกอันแรกเลยมาจากสถายกตัวอย่างเช่นสารละลายที่เป็นน้ำเชื่อมมีสถาเป็นของเหลวน้ำตาลน้ำเชื่อมเกิดจากน้ำตาลกับน้ำผสมกันถูกไหมน้ำตาลทรายเป็นผงถูกไหมเป็นของแข็งสวนน้ำน้ำก็เป็นของเหลวเขาบอกว่าถ้าพิจารณาจากสถาสารที่มีสถาเหมือนกับสารละลายที่ออกมาจะเป็นตัวทำละลายและน้ำเชื่อมเนี่ยเป็นสารละลายของเราซึ่งน้ำกับน้ำเชื่อมมีสถาตรงกลางน้ำจะเป็นตัวทำละลายส่วนน้ำตาลทรายจะเป็นตัวถูกละลายอันแรกพิจารณาจากสถาถ้ามีสารสงสารเราอยากรู้ว่าหนูเป็นตัวทำอะไรเป็นตัวถูกสารที่เป็นตัวทำละลายจะมีสถาเหมือนกับสารละลายที่ออกมาตอนที่
2
อย่างนี้ผสมกันแล้วต่อมาอีกอันนึงคือการพิจารณาจากปริมาณการพิจารณาจากปริมาณเช่นแอลกอฮอล์ล้างแผลแอลกอฮอร์ล้างแผลเนี่ยเป็นสารละลายซึ่งสถาเนี่ยเป็นของเหลวน้ำกลั่นและแอลกอฮอล์ผสมกันได้พอล้างแผลน้ำกลั่นก็ของเหลวแอลกอฮอล์ก็เป็นของเหลวเนี่ยเราไม่สามารถพิจารณาจากสถาได้แล้วเราก็ต้องมาดูที่ปริมาณแล้วก็ล้างแผล
70% เนี่ยจะใช้ alcohol 70% แล้วก็ใช้น้ำกลั่นเนี่ย 30%
อันนี้เนี่ยมีปริมาณมากกว่าเราจะให้แอลกอฮอล์เนี่ยเป็นตัวทำละลายส่วนน้ำกลั่นเป็นตัวถูกละลายหัวข้อต่อมาเนื่องจากสารละลายนี้มีสาร
2
ชนิดคือตัวทำกับตัวถูกปนกันอยู่ใช่ไหมเพราะฉะนั้นเนี่ยเราจึงต้องบอกความเข้มข้นของสารละลายที่มีความเข้มข้นของสารละลายคืออะไรเราจะต้องบอกว่ามีปริมาณของตัวถูกละลายละลายอยู่มากน้อยแค่ไหนเทียบกับปริมาณสารละลายทั้งหมดยังเมื่อกี้เรามีน้ำเชื่อมน้ำเชื่อมเกิดจากตัวทำละลายคือน้ำและตัวถูกละลายสีน้ำตาลพนัสในการบอกปริมาณตัวถูกละลายเทียบสารละลาย
เราต้องบอกปริมาณน้ำตาลเทียมกับน้ำเชื่อมทั้งหมดอย่าเทียบกับน้ำหน่วยความเข้มข้นเดี๋ยวเราจะเรียนด้วยกัน
5 หน่วยมาดูหน่วยแรกหน่วยแรกร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ 100
ล้านเนี่ยจะแบ่งออกเป็นร้อยละโดยมวลร้อยละโดยปริมาตรแล้วก็ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรร้อยละโดยมวลๆสูตรเขามาเนี่ยวิธีการง่ายๆคือร้อยละโดยมวลให้เราเอามวลสารมวลเป็นร้อยละโดยปริมาตรก็ให้เราเอาปริมาตรหารปริมาตรเป็นร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรก้อยใช้เป็นมวลต่อปริมาตรแล้วถามว่าวัวหันวัวนี่มันมวลของอะไรอย่าลืมตอนนี้แหละเราต้องการจะบอกความเข้มข้นของสารละลายเป็นร้อยละถ้าเป็นร้อยละโดยมวลตัวถูกละลายจากสารละลายเราจะเอาตัวถูกละลายไว้ที่เศษเอาสารละลายไว้ที่สวนเท่านั้นร้อยละโดยมวลก็คือมวลตัวถูกหารด้วยมวลของสารละลายแล้วด้วยความที่มันเป็นร้อยละร้อยละคือการเทียบกับร้อยเราก็ต้องคุยลอยเข้าไปเหมือนกันสูตรร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตรหาปริมาตรแล้วก็การบอกความเข้มข้นคือการบอกปริมาณตัวถูกละลาย
ร้านเราจะเอาตัวถูกไว้ที่เศษสารละลายไว้ที่ส่วนร้อยละ 100
ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรเอามวลหารปริมาตรที่เศษให้เป็นตัวถูกที่สวนให้เป็นสารละลายแล้วก็ร้อยละก็คูณร้อยในความหมายเนี่ยยกตัวอย่างเช่นอะไรบ้างเช่นถ้าสมมุติว่าเรามีสารละลายโซเดียมคลอไรด์เข้มข้นร้อยละ
10 โดยมวลหมายความว่าเรามีตัวถูกละลายตัวถูกละลายอยู่ 10
กรัมการเปลี่ยนหน่วยของมวลมีอยู่ 10
กรัมเทียบกับงานร้อยละโดยมวลๆเรามีมวลตัวถูกละลายคือโซเดียมคลอไรด์อยู่ 10
กรัมเทียบกับมวลสารละลายทั้งหมดคือ 100 บาททั้งหมดของเราเนี่ยคือ 100 กรัมเพราะฉะนั้นถ้าเกิดว่าในสารละลายมี
100 กรัมเป็นเกลือไปแล้ว 10 เท่านั้นที่เหลือก็ต้องเป็นน้ำอีก 90 ที่เหลือก็จะเป็นน้ำอีก
90 กรัมถ้าเป็นความเข้มข้นโดยปริมาตรบ้างสารละลายกรดแอซิติกเข้มข้นร้อยละ 15
โดยปริมาตรคือปริมาตรของตัวถูกละลายเช่นเรามีตัวถูกละลายอยู่ 15
ลูกบาศก์เซนติเมตรเทียบกับปริมาตรสารละลายทั้งหมด 100 ส่วนก็คือเป็น 100
ลูกบาศก์เซ็นเพราะฉะนั้นละลาย 10% อยู่ในสารละลาย 100
ที่เหลือก็ต้องเป็นตัวทำลายอีก 85
ลูกบาศก์เซนติเมตรร้อยละโดยมวลก็เทียบหน่วยมวลเป็นกรัมร้อยละโดยปริมาตรก็เทียบหน่วยลูกบาศก์เมตรเป็นหน่วยของปริมาตรถ้าเป็นร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรเราก็บอกว่าอย่างงี้สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์เข้มข้นร้อยละ
8 โดยมวลต่อปริมาตรก็คือเรามีมวลของตัวถูกละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์อู่ 8
กรัมในปริมาตรสารละลายทั้งหมด 100 ส่วนก็คือสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ทั้งหมด 100
ลูกบาศก์เซ็นหน่วยความเข้มข้นหน่วยแรกหน่วยร้อยละอย่าลืมความเข้มข้นคือการ
บอกปริมาณตัวถูกเทียบสารละลายเพราะฉะนั้นตัวถูกเราจะเอาไว้ที่เสพสารละลายเอาไว้ที่สวนต่อมาหน่วยความเข้มข้นหน่วยที่
2 คือเราเรียกว่าโมลาริตีหรือว่าโมลาร์ตัวแปรที่เราใช้เนี่ยจะเป็นตัวพิมพ์ใหญ่มันคือเป็นการบอกจำนวนโมลของตัวถูกละลายที่ละลายอยู่ในสารละลายปริมาตร
1 ลิตรพูดง่ายๆอย่างเมื่อกี้เราบอกแล้วว่าความเข้มข้นเนี่ยจะเป็นการบอกปริมาณตัวถูกเทียบกับสารละลายให้ตัวถูกพิเศษสารละลายอยู่ที่สวนเพราะฉะนั้นมูลอยู่ตรงเซเว่นแสดงว่าเราจะต้องบอกปริมาณตัวถูกละลายให้เป็นหน่วยมนต์ส่วนสารละลายอยู่ที่ส่วนหารก็คือส่วนเศษ
3
ส่วนตรงนี้คือสารละลายทั้งหมดเราเป็นการบอกว่าเข้มข้นมากน้อยแค่ไหนเรามีสารละลายอยู่
1 ลิตร 1 ลูกบาศก์เดซิเมตรมีสารละลายอยู่ 1
ลิตรจะมีตัวถูกละลายละลายอยู่กี่มลหมายเหตุ 1 ลิตรเราสามารถพูดได้ว่ามันคือ 1
ลูกบาศก์เดซิเมตรมีค่าเท่า 1 ลิตรโดยที่ 1 ลูกบาศก์เดซิเมตรเนี่ยคือ 1000
ลูกบาศก์เซ็นแล้วก็หนึ่งลิตรเนี่ยคือ 1000 ML ลูกบาศเซนกับ ML
มีค่าเท่ากันลองดูตัวอย่างสารละลายคอปเปอร์ซัลเฟต 0.8
โมลต่อลิตรหมายความว่าอะไรหมายความว่าเรามีคอปเปอร์ซัลเฟตเป็นตัวถูกละลายปริมาณ
0.8 มูลโดยที่คอปเปอร์ซัลเฟต 0.8 โมลละลายอยู่ในสารละลายทั้งหมด 1
ลิตรแสดงว่าเรามีสารละลายทั้งหมด 1 ลิตรนี่คือความหมายของหน่วยโมลาริตีหรือ moana
แล้วก็เขียนตัวสีแดงไว้ตรงนี้คืออะไรในการที่เราจะเปรียบเทียบความเข้มข้นของสารเนี่ยถ้าสมมุติว่าเราเรียนไปครบ
5 หน่วยแล้ว
แล้วโจทก์บอกว่าให้เปรียบเทียบกันว่าอันไหนเข้มข้นมากกว่าเนี่ยให้แปลงทุกๆหน่วยให้เป็นโมลาร์แล้วค่อยมาเปรียบเทียบกันของใครมีค่ามูลนิธิเยอะกว่านั้นก็คือเข้มข้นมากกว่าต่อจากนี้เราจะไปที่อันที่
3 โมลาริตี้หน่วยนี้จะพิเศษปกติแล้วในการบอกความเข้มข้นเราจะบอกตัวถูกเทียบสารละลายแต่ว่าอันนี้ให้ดอกจันไปเลยดอกจันไปเลยว่าหน่วยโมลาริตีเป็นการบอกความเข้มข้นเพียงหน่วยเดียวที่เป็นการบอกจำนวนของตัวถูกละลายเทียบกับตัวทำละลายเพราะฉะนั้นเนี่ยตัวถูกละลายจะอยู่ที่เศษส่วนปกติแล้วตัวส่วนแต่ละตัวแทนด้วยสารละลายใช่ไหมตัวส่วนจะกลายเป็นตัวทำละลายแทนเศษ
sage
คือตัวถูกส่วนเป็นตัวทำหน้าเพราะฉะนั้นเราถ้าเรามีเขาบอกว่าสารละลายน้ำตาลกลูโคสเข้มข้น
2 โมงแล้วมันเป็นการบอกว่าเรามีตัวถูกอยู่ 2 คนเรามีตัวถูกละลายน้ำตาลกลูโคสอยู่ 2
คนน้ำตาลกลูโคส 2 โมงอยู่ในอะไรอยู่ในตัวทำละลาย 1 กิโลกรัมเทียบกับตัวทำละลายมวล
1 กิโลกรัมน้ำตาลกลูโคส 2 วันนี้ละลายอยู่ในน้ำ 1 กิโลกรัมอย่าลืมที่เป็นการบอกความเข้มข้นที่พิเศษกว่าตัวอื่นๆเพราะเป็นการบอกปริมาณตัวถูกเทียบตัวถังปกติแล้วเนี่ยเราจะบอกตัวถูกเทียบกับสารละลายทั้งหมดแต่มูลนิธิบอกตัวถูกเรียกตัวทำเพราะฉะนั้นพิเศษเป็นตัวถูกที่ส่วนเป็นตัวทำพอเราเรียนโมลาริตีโมแลลิตีแล้วเนี่ยเราก็มีคำว่ามูลใช่ไหมว่าปริมาณตัวถูกกี่โมงกี่โมงแล้วทีนี้เราก็ต้องทนกันนิดนึงปริมาณสารสัมพันธ์จำนวนโมลเนี่ยเราสามารถหาได้จากอะไรบ้างจำนวนโลนเราสามารถหาได้จากจำนวนอนุภาค
/ 6.02 * 10 ^ 23
อนุภาคและจำนวนเงินโอนสามารถหาได้จากมวลสารเป็นกรัมหารด้วยมวลอะตอมของธาตุนั้นหรือมวลโมเลกุลของสารประกอบแล้วจะมีทำไม
[PDF] สารละลาย เคมี
ไม่มีความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น